ISSN 1905-7881 (Print)

ISSN 2651-1584 (Online)

วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต

Journal of Rangsit University: Teaching & Learning

jrtl.rsu.ac.th

            สวัสดีผู้อ่านทุกท่าน วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต ฉบับนี้ ส่วนใหญ่จะประกอบด้วยบทความวิจัยที่มีเนื้อหาสาระด้านการพัฒนาสื่อการสอน e-Learning  ในหลากหลาย หัวข้อ  ทั้งเรื่อง  การเตรียมสารละลาย   เทคนิคทางปรสิตวิทยา  ภาพตัด  การบัญชีสำหรับสินค้าคงเหลือ  รวมถึงการพัฒนาสื่อวีซีดีเกี่ยวกับขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์  และที่น่าสนใจคือ แนวทางการพัฒนาพจนานุกรมที่เป็นคำศัพท์เฉพาะทางในรูปแบบพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์  ซึ่งน่าจะเป็นประโยชน์สำหรับคณาจารย์และนักวิชาการผู้สนใจ เพื่อนำไปใช้สร้าง พจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์ในสาขาวิชาของตนเอง  นอกจากนั้น ยังมีบทความในรูปแบบรายงานปริทัศน์ปิดท้ายใน 2เรื่องที่มีความน่าสนใจเช่นเดียวกัน ได้แก่เรื่อง ปัญหาการตอบข้อสอบแบบอัตนัย และการสอนโดยวิธี Storyline

            ทางกองบรรณาธิการ มีความมุ่งมั่นที่จะนำเสนอบทความวิชาการที่มีคุณค่า และยินดีต้อนรับผู้เขียนหน้าใหม่ทุกท่าน ทั้งจากภายในและภายนอกสถาบัน หากท่าน มีความสนใจส่งต้นฉบับบทความซึ่งมีเนื้อหาในขอบข่ายของการพัฒนาการเรียนการสอน เพื่อลงตีพิมพ์ สามารถติดต่อทางกองบรรณาธิการได้โดยตรง.... แล้วพบกันใหม่ใน ฉบับหน้า...

วารสารพัฒนาการเรียนการสอน. Vol.5 No.1 , January - June 2011.
Table of Contents
Page
Research Articles
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนสำหรับเสริมการเรียนวิชาเคมีวิเคราะห์เรื่อง การเตรียมสารละลายในหน่วยความเข้มข้นต่างๆ
ปัญญา มณีจักร์
5-18
การพัฒนาสื่อประกอบการเรียนการสอนวีซีดี สำหรับปฏิบัติการเรื่อง ขั้นตอนการเพาะเลี้ยงเชื้อจุลินทรีย์
วนิดา โอศิริพันธุ์
19-28
การพัฒนาสื่อการสอนอิเล็กทรอนิกส์รายวิชา MTH353: เทคนิคทางปรสิตวิทยาการแพทย์
สิริมา กิจวัฒนชัย
29-39
การสร้างและหาประสิทธิภาพของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนแบบมัลติมีเดียเรื่อง ภาพตัด (Section View) มหาวิทยาลัยรังสิต
ชนัฏตา สินธนพงศ์
40-51
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง การปัญชีสำหรับสินค้าคงเหลือ
จารุณี อภิวัฒน์ไพศาล
52-64
การพัฒนาพจนานุกรมอิเล็กทรอนิกส์คำศัพท์สาขาวิชาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ธรรมสันต์ สุวรรณ์โรจน์
65-76
Review Articles
ปัญหาการตอบข้อสอบอัตนัยของนักศึกษา
วิชัย กอสงวนมิตร
77-85
การบูรณาการการเรียนการสอนโดยวิธี Storyline Method
พงษ์ยุทธ กล้ายุทธ
86-92