การสอนภาษาอังกฤษยุคใหม่ผ่านสังคมออนไลน์ (Social Media)
Teaching English through Social Media
บทคัดย่อ
โทมัส เอดิสัน กล่าวไว้ว่า “หนังสือจะเป็นสิ่งที่ล้าสมัยในโรงเรียน ในขณะที่ภาพเคลื่อนไหวจะ มาแทนที่หนังสือ ในฐานะสื่อการเรียนการสอน” ในปัจจุบัน เราคงปฏิเสธมิได้ว่าคำกล่าวนั้นใกล้จะเป็น จริงอย่างสมบูรณ์เข้าไปทุกที่การศึกษาทั่วโลกมีการใช้เทคโนโลยีและสื่อเข้ามาเกี่ยวข้อง โดยเฉพาะสื่ออินเทอร์เน็ตในอนาคตอันใกล้การศึกษาของไทยมีแนวโน้มเป็นระบบการศึกษาที่เพิ่มศักยภาพการเรียนรู้และส่งเสริมทักษะเกี่ยวกับ กระบวนการเรียนรู้ เพื่อ พัฒนาตนเองได้ต่อเนื่องตลอดชีวิต ในสภาวะการ เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ของโลก ในเรื่องของการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทยนักการศึกษายังคงคิดค้นหาวิธีต่อไปเพื่อให้เข้าถึง เยาวชนและกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้นทั้งนี้ต้องให้สอดคล้องกับบริษัทและ ความต้องการของผู้เรียนในปัจจุบันการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนภาษาอังกฤษผ่านสังคมออนไลน์ ทั้ง เฟสบุ๊ก ทวิตเตอร์ และยูทูบ จึงกำลังตอบโจทย์เรื่องความต้องการของสังคมในการพัฒนาการ ศึกษาทุกวันนี้ อย่างไรก็ตาม การเรียนทุกรูปแบบก็เหมือนกับเหรียญสองด้านที่ผู้สอนและผู้เรียนต้อง ทำความรู้จักทั้งวิธีการ บทบาท และข้อดีข้อเสียให้ถ่องแท้เสียก่อนเพื่อนำมาใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด
Abstract
Thomas A. Edison has said “Books will soon be obsolete in the public schools and motion pictures will replace books as an instructional media.” This quote might soon be literally true. Education around the globe nowadays has involved technology and media: the Internet - in particular. Likewise, Thai Education tends to provide Thais with a more efficient system in the near future, and it will potentially foster life-long learning in the rapid changing world. As of teaching English, Thai educators are still seeking the most ap- propriate way to successfully meet the needs of young learners and the target groups. In the light of this happening, learners’ varied contexts must be taken into careful considera- tion. Teaching and learning English through social network, namely Facebook, twitter, and YouTube are widely accepted. Based on my own experience, for instance, these chan- nels enhance an interactive classroom. Hopefully, these dramatic changes because of a modern technology may well progress Thailand’s education system. Nevertheless, every coin has two sides. Thus, both teachers and learners have to conscientiously study the approaches, the roles and their pros and cons to make the most of any selected method.
How to cite!
ศิตา เยี่ยมขันติถาวร (2556). การสอนภาษาอังกฤษยุคใหม่ผ่านสังคมออนไลน์ (Social Media). วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 7(2), 115-128
Indexed in