วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต

Journal of Rangsit University: Teaching & Learning

ISSN 2822-1400 (Print)

ISSN 2822-146X (Online)

ประสบการณ์การสอบ Objective Structured Clinical Examination (OSCE) การพยาบาลระยะคลอดปกติ กรณีศึกษา: วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี

Experiences of the Objective Structured Clinical Examination (OSCE) on Nursing Care during Normal Delivery, Case Study: Prachomklao College of Nursing, Phetchburi Province


บทคัดย่อ

การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์การสอบ OSCE การพยาบาลระยะคลอดปกติผู้ให้ข้อมูลหลัก คือนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นที่ปีที่ 4 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรีคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักที่ผ่านการสอบ OSCE การพยาบาลระยะคลอดปกติ ในรายวิชาการพยาบาลมารดาทารกและการผดุงครรภ์ 1 ยินดีและเต็มใจให้ข้อมูล จ????ำนวน 20 คน เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม 2558 โดยการสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหาผลการวิจัยพบว่า1) มีความต้องการด้านโจทย์ปัญหาที่เป็นสถานการณ์ครอบคลุมของเนื้อหาตั้งแต่ระยะที่ 1 – 4 ของการคลอดโจทย์สถานการณ์จริงที่พบบ่อย เป็นสถานการณ์ที่มีปัญหาหลายๆอย่างใน 1 สถานการณ์ เพื่อจะได้เรียนรู้วิธีป้องกันได้ถูกต้องและรวดเร็ว รวมทั้งโจทย์ปัญหามีความซับซ้อนและเรียงล????ำดับความส????ำคัญของการพยาบาล เพื่อท????ำให้การหาค????ำตอบน่าค้นหา 2) สามารถกระตุ้นให้เกิดการคิดวิเคราะห์ร่วมกับทฤษฎีที่เรียนมาท????ำให้เข้าใจในเนื้อหามากขึ้น 3) ท????ำให้เกิดการคิดแก้ไขปัญหา และสามารถวางแผนให้การพยาบาลได้อย่างครอบคลุม และ4) เกิดความสามารถในการควบคุมตนเอง

Abstract

This qualitative research aimed to describe the experiences of the Objective Structured Clinical Examination (OSCE) on the nursing care during normal delivery. 20 fourth-year nursing students of Prachomklao College of Nursing, Phetchburi Province, were the key informants. They have attended OSCE on nursing care during a normal delivery in ‘Maternal and Newborn Nursing and Midwifery 1’ course as well as were willing and voluntary to give the information. The data collection has been conducted from October to December 2015 through the focus group, while the data were analysed by means of content analysis.

According to the research results, 1) the demand for the scenario concerning 4 stages of delivery was found. In particular, it should be a real and frequent situation or a multiple- problem situation for the learning of correct and quick responses. Also, it should be complicated and the nursing care is prioritized so that the search for answers became more challenging. 2) To enhance the analytical thinking, while the theoretical learning contributed to more understanding of contents. 3) It created the problem-solving thinking and the ability to formulate the comprehensive nursing plan. And 4) the self-control capability is built up.

Download in PDF (337.88 KB)

How to cite!

รพีพรรณ นาคบุบผา, ไพลิน ถึงถิ่น, & มนพร ชาติชำนิ. (2560). ประสบการณ์การสอบ Objective Structured Clinical Examination (OSCE) การพยาบาลระยะคลอดปกติ กรณีศึกษา: วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 11(1), 82-94

Approved By TCI (2020 - 2024)

Indexed in