วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต

Journal of Rangsit University: Teaching & Learning

ISSN 2822-1400 (Print)

ISSN 2822-146X (Online)

การพัฒนาระบบสนับสนุนการเลือกหัวข้อและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และคลังข้อมูลพื้นฐานสำหรับการออกแบบสถาปัตยกรรม

The Development of Thesis Topic and Advisor Choosing System for Faculty of Architecture, Rangsit University and Basic Knowledge Base for Architectural Design


บทคัดย่อ

งานวิจัยชิ้นนี้เป็นการต่อยอดจากงานวิจัย

ระดับปริญญาโทในปีพ.ศ.2551 ของนักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอม-พิวเตอร์เพื่อการออกแบบสถาปัตยกรรม (M.S.(CAAD)) ของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหา-วิทยาลัยรังสิต ในการพัฒนาระบบบริหารจัดเก็บและสืบค้นข้อมูลวิทยานิพนธ์ และบทความวิจัยของคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต(เรียกว่า "ThesisCAAD") ซึ่งเป็นโปรแกรมประเภทWeb-based Application เพื่อให้รองรับการเรียนการสอนได้สมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น อีกทั้งเพื่อสร้างระบบสนับสนุนการเลือกหัวข้ออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาตรี (เรียกว่า "e-Thesis") และเพื่อติดตั้งระบบคลังความรู้พื้นฐานสำหรับการออกแบบสถาปัตยกรรม (เรียกว่า "AWiki")ซึ่งเป็นโปรแกรมประเภทวิกิที่มีการทำงานเชื่อมโยงกับ ThesisCAAD ท้ายที่สุดผลการประเมินความพึงพอใจการใช้งานระบบ e-Thesis แสดงให้เห็นว่าผู้ใช้ (นักศึกษา-คณาจารย์) มีความพึงพอใจอยู่ระหว่าง "เฉยๆ" กับ "ค่อนข้างพอใจ" ซึ่งจากผลการประเมินนี้ ทางผู้วิจัยก็ได้แนวทาง เพื่อการพัฒนาระบบสำหรับการใช้งานจริงในอนาคต

Abstract

This research was a further study from a  Master degree thesis in 2008 of a student in  Master of Science Program in Computer-Aided   Architectural Design (M.S.(CAAD)), Faculty of  Architecture, Rangsit University. This thesis  presented a development of a storage and  retrieval system of thesis and research  documents for Faculty of Architecture, Rangsit  University (called “ThesisCAAD”), which was a  web-based application. In order to support the  learning activities first, a system that supports  thesis topics and advisors choosing process for  undergraduate students’ thesis (called “e-Thesis”)  was created. Then, a system that supports as a  basic knowledge archive for architectural design  (called “A-Wiki”), was installed. This later system  is a Wiki system, which worked in connection  with ThesisCAAD. The result of satisfaction evaluation of  the system usage showed that the users (students, lecturers) were satisfied at a level  between “Indifferent” and “rather satisfied”. From  this result, the researcher found a guideline to  improve the system for future implementation in  real contexts.

Download in PDF (385.79 KB)

How to cite!

วลัยภรณ์ นาคพันธุ์ (2552). การพัฒนาระบบสนับสนุนการเลือกหัวข้อและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต และคลังข้อมูลพื้นฐานสำหรับการออกแบบสถาปัตยกรรม. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 3(2), 23-34

Approved By TCI (2020 - 2024)

Indexed in