ลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต
Learning Style of the First Year Medical Technology Students, Rangsit University
วันที่ส่งบทความ: 12 ม.ค. 2567
วันที่ตอบรับ: 3 ก.พ. 2567
วันที่เผยแพร่: 1 ก.ค. 2567
บทคัดย่อ
การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลีลาการเรียนรู้และความสัมพันธ์ระหว่างเพศกับลีลาการเรียนรู้ตามแนวคิดของ กราชา และ ริเอชแมนน์ ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะเทคนิคการแพทย์ ปีการศึกษา 2566 จำนวน 164 คน เป็นประชากรในการศึกษา เครื่องมือในการศึกษาเป็นแบบสำรวจลีลาการเรียนรู้ตามแนวคิดของ กราชาและริเอชแมนน์ ที่มีค่าสัมประสิทธิ์คอนบาคเท่ากับ 0.914 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และ สถิติไค-สแควร์ ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ร้อยละ 84.4 เป็นเพศหญิง ลีลาการเรียนรู้ของกลุ่มตัวอย่างมีค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานดังนี้ แบบพึ่งพา(4.25±0.40) แบบมีส่วนร่วม (3.98±0.52) แบบร่วมมือ (3.97±0.56)แบบอิสระ (3.63±0.59)แบบหลีกเลี่ยง(3.15±0.74) และแบบแข่งขัน (3.05±0.84) ตามลำดับ และพบว่าเพศมีความสัมพันธ์กับลีลาการเรียนรู้แบบหลีกเลี่ยงและแบบพึ่งพาอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 ผลการวิจัยนี้สามารถนำไปใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
Abstract
The purpose of this research was to study Grasha & Riechmann’s learning style Inventory and the relation between the students’ gender and Grasha & Riechmann’s learning styles. The 164 first-year Medical Technology students were the study population. The Grasha-Ricehmann Student Learning Style Scale (GRSLSS) was used as the research instrument to assess the students’ learning style. The scale had acceptable reliability coefficients of 0.914. Data were analyzed by descriptive statistics and Chi-Square Statistics.The findings showed that the majority (84.4%) of the sample group were female and the mean scores of the following learning styles: Dependent (4.25±0.40), Participant (3.98±0.52), Collaborative (3.97±0.56), Independent (3.63±0.59), Avoidance (3.15±0.74) and Competitive (3.05±0.84) respectively. It was found that there was a significant relation between genders and Avoidance style, Dependent style (p<.05). The results can be used to plan the Learning models for learners’ learning achievement.
How to cite!
กาญจนา จันทร์ประเสริฐ (2567). ลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยรังสิต. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 18(2), 238-250
References
กาญจนา ศรีสวัสดิ์, และธนินทร์ รัตนโอฬาร.(2560). วิเคราะห์องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนของนักศึกษาพยาบาล สถาบันอุดมศึกษาเอกชน. วารสารเกษมบัณฑิต,18(2),171-179.
จงกลณี ตุ้ยเจริญ, ปรางทิพย์ ทาเสนาะ, เอลเทอร์ รำไพ หมั่นสระเกษ, อิสราวรรณ สนธิภูมาส, และทรงสุดา หมื่นไธสง. (2563). รูปแบบการเรียนรู้แบบวาร์คของนักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตในวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. วารสารวิชาการสาธารณสุข,29(6),1073-1085.
ทรงทรรศน์ จินาพงศ์, สุริยา จันทนกูล, และอานนท์ คงสุนทรกิจกุล.(2561). ลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชาพลศึกษาและวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,2(2), 23-33.
บุญเตือน วัฒนกุล, ศิริกุล การุณเจริญพาณิชย์, และศรีสุดา งามขำ.(2564). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบการเรียนกับลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาพยาบาล. วารสารพยาบาลสภากาชาดไทย,14(2),283-297.
เปศล ชอบผล, จีราพร พระคุณอนันต์, กรพินธุ์ ฤทธิบุตร, และนิติบดี ศุขเจริญ. (2563). รูปแบบการเรียน.วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต,10(2),103-109.
ภาสพงศ์ ผิวพอใช้.(2560). การศึกษาลีลาการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาญี่ปุ่น และการสื่อสารคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. HUSO Journal of Humanities and Social Sciences,1(2),140-150.
ศักดิ์คเรศ ประกอบผล.(2563). การวิเคราะห์ผู้เรียน: ลีลาการเรียนรู้. ครุศาสตร์สาร,14(2),1-14.
ศิริพร พึ่งเพ็ชร์.(2559). การศึกษาลีลาการเรียนรู้ของนักศึกษาสหวิทยาการท้องถิ่นที่เรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. ใน การประชุมวิชาการและเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 3 ก้าวสู่ทศวรรษที่ 2: บูรณาการงานวิจัย ใช้องค์ความรู้ สู่ความยั่งยืน (น.355-360). นครราชสีมา: วิทยาลัยนครราชสีมา.
เสาวภา วิชาดี. (2554). รูปแบบการเรียนของผู้เรียนในมุมมองของทฤษฎีการเรียนรู้แบบประสบการณ์. วารสารนักบริหาร, 31(1),175-180.
Amir, R., & Jelas, Z.M. (2010). Teaching and learning styles in higher education institutions: Do they match. Procedia Social and Behavioral Sciences,7(3),680–684.
Baneshi, A.R., Dehghan, T. M., Mokhtarpour, H. (2014). Grasha-Richmann College Students’Learning Styles of Classroom Participation: role of Gender and Major.
J Adv Med Educ Prof, 2(3),103-107.
Baneshi, A.R., Karamdoust, NA., & Hakimzadeh, R. (2013). Studying validity & reliability of the Persian version of Grasha-Richmann student learning styles scale. J. Adv Med & Prof, 1(4),119-124.
Felder, R.M. (1993). Reaching the second tier: Learning and teaching styles in college science education. Journal of College Science Teaching, 23, 286-290.
Grasha, A.F., & Riechmann, S.W. (1974). A rational to developing and assessing the construct validity of a student learning styles scale instrument. Journal of Psychology, 87, 213-23.
Grasha, A.F., & Reichman, S.W. (1975). Learning Style Diagnostics, the Grasha and Reichman Student Learning Style Scale. Ohio: Faculty Resource, University of Cincinnati.
Gujjar, A.A., & Tabassum, R. (2011). Assessing learning styles of student teachers at federal college of education. Procedia Social and Behavioral Sciences, 30(1), 267-71.
Halili, S.H., Naimie, Z., Sira, S., AhmedAbuzaid, R., & Leng, C.H. (2015). Exploring The Link Between Learning Styles and Gender Among Distance Learners. Procedia - Social and Behavioral Sciences,191(1), 1082 – 1086.
Hamidah, J.S., Sarina, M.N., & Kamaruzaman, J. (2009). The Social interaction learning styles of science and social science students. Asian Social Science, 5(7), 58-64.
Kraft, R.E. (1976). An Analysis of Students Learning Styles. Physical Education, 33(3), 140.
Kulac, E., Sezik, M., Asci, H., & Gurpınar, E. (2015). Learning Styles, Academic Achievement, and Gender in a Medical School Setting. J Clin Anal Med,6(5), 608-611.
Leaver, B.A., Ehrman, M., Shekhtman, B. (2005). Achieving Success in Second Language Acquisition. UK: Cambridge University Press.
Lewis, M. (2014). Learning Styles, Motivations, and Resource Needs of Students Enrolled in a Massive Open Online Class (Master’s thesis). Chapel Hill: University of North Carolina. Retrieved from https://ils.unc.edu/courses/2015_fall/inls781_002/Examples/Lewis2014.pdf
Mahamod, Z., Embi, M.A., Yunus, M.M., Lubis, M.A, Chong, O.S. (2010). Comparative learning styles of Malay language among native and non-native students. Procedia Social and Behavioral Sciences, 9(1), 1042-7.
Mangold, K., Kunze, K.L., Quinonez, M.M., Taylor, L.M., & Tenison, A.J. (2018).Le arning Style Preferences of Practicing Nurses. J Nurses Prof Dev, 34(4), 212-218. doi 10.1097/NND.0000000000000462.
Mehdinezhad, V., & Azarkhordad, F. (2016). Explaining the Students’ Learning Styles Based on Grasha- Riechmann’s Student Learning Styles. Journal of Administrative Management, Education and Training, 12(6), 72-79
Moran, G., & Cutler, B. L. (1991). The prejudicial impact of pretrial publicity. Journal of Applied Social Psychology, 21(5), 345–367.
O’Faithaigh, M. (2000). The Social-Interaction Learning Styles of Irish Adult Learners: Some Empirical Findings. Retrieved from https://files.eric.ed.gov/fulltext/ED465017.pdf
Indexed in