การสลับรหัสในวาทกรรมของผู้สอนชาวไทยภายในชั้นเรียนกลุ่มวิชาบังคับร่วม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต
Code Switching in Thai Teacher Discourse in Classroom Context of Required Courses of Faculty of Liberal Arts, Rangsit University
บทคัดย่อ
หากพิจารณาความส????ำคัญของตัวป้อนภาษาที่ผู้เรียนภาษาต่างประเทศใช้งาน การศึกษาในปัจจุบันพยายามส????ำรวจวาทกรรมในชั้นเรียนที่เน้นการสอนแบบบรรยายเนื้อหาด้านภาษาศาสตร์ประยุกต์ ในมหาวิทยาลัยรังสิต ประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบวิธีการสลับรหัสในวาทกรรม (code-switching) และส????ำรวจประเภทและเหตุผลของการสลับรหัสในวาทกรรมที่พบในวาทกรรมของอาจารย์ผู้สอน โดยใช้วิธีการวิเคราะห์รูปแบบวาทกรรมในการพูดของอาจารย์ผู้สอนผลจากการศึกษาพบว่าอาจารย์ผู้สอนมีการสลับรหัสในวาทกรรมระหว่างภาษาอังกฤษและภาษาไทยบ่อยครั้ง รูปแบบการสลับรหัสในวาทกรรมที่พบมากที่สุดในวาทกรรมของอาจารย์ผู้สอน คือ การสลับรหัสในวาทกรรมภายในประโยค ร้อยละ 93 ของการสลับรหัสในวาทกรรมทั้งหมด การสลับรหัสในวาทกรรมระหว่างประโยคและการแทรกค????ำหรือวลีภายในประโยคพบไม่บ่อยนอกจากนี้ยังพบว่าการเปลี่ยนภาษาเกิดขึ้นจากเหตุผลหลายประการ อันได้แก่ การเน้น การแทนที่ การอธิบาย ซึ่งเป็นประเด็นเหตุผลที่ไม่พบในผู้เรียนภาษาแม่ การวิเคราะห์แสดงให้เห็นว่า มีการใช้วิธีการแปลและการอธิบายค????ำภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยบ่อยครั้ง เพื่ออธิบายมโนทัศน์ที่ไม่คุ้นเคย ตลอดจนเน้นย????้ำเนื้อหาที่สอน และ ท????ำให้ผู้เรียนเข้าใจข้อมูลได้ดียิ่งขึ้น อันนำไปสู่การเรียนภาษาที่สัมฤทธิ์ผล
Abstract
Taking into consideration the importance of language input foreign language learners are exposed to, the present study is an attempt to investigate classroom discourse in content-based lectures in applied linguistics at Rangsit University, Thailand. Specifically, the purposes of the study were to examine code switching practices in teacher discourse and to investigate the type and reasons for code switching. To meet the above-mentioned objectives, the discourse analysis of code switching patterns in teacher talk has been carried out. The analysis of classroom discourse reveals that the teacher frequently alternates between English and Thai; intrasentential code switching, which constitutes 93% of all switches, is the most common feature of teacher discourse. Intersentential and tag switching are infrequent. It was found that language alternation takes place for various reasons including emphasis, substitution, clarification, off topic remarks and lack of equivalent in L1. Furthermore, the analysis shows frequent use of translation and explanation of English words in Thai, which is used to explain unfamiliar concepts as well as to emphasize recently taught concepts and make input more comprehensible to ensure successful learning.
How to cite!
Dorota Domalewska (2560). การสลับรหัสในวาทกรรมของผู้สอนชาวไทยภายในชั้นเรียนกลุ่มวิชาบังคับร่วม คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต. วารสารพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยรังสิต, 11(1), 95-109
Indexed in